เครื่องเคลือบบุรีรัมย์

Authors

  • สมมาตร์ ผลเกิด

Keywords:

เครื่องเคลือบดินเผา , โบราณวัตถุ, บุรีรัมย์

Abstract

          บุรีรัมย์เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือภาคอีสานและโดยที่จังหวัดบุรีรัมย์อยู่ทางตอนใต้ของภาคอีสานจึงถูกจัดให้อยู่ในกลุ่ม “อีสานใต้” อันประกอบด้วย จังหวัดอื่น ๆ อีก 7 จังหวัด อันได้แก่ ชัยภูมิ นครราชสีมา สุรินทร์ ศรีษะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร และอำนาจเจริญ

References

นัฏฐภัทร จันทวิช. เครื่องถ้วยจีนจากแหล่งโบราณคดีในประเทศไทย. กรุงเทพฯ, อัมรินทร์การพิมพ์, 2529.

มณแทน ต้นบุญต่อ. ประวัติเครื่องปั้นดินเผาไทย. ภาควิชาหัตถศึกษาและอุตสาหกรรมศิลป์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาลัยครูมหาสารคาม, 2536.

สรเชต วรคามวิชัย. เครื่องเคลือบดินเผาบุรีรัมย์. บุรีรัมย์, เรวัตการพิมพ์, ไม่ปรากฎปีที่พิมพ์.

สุพจน์ พรหมาโนช. แหล่งเตาเผานายเจียน. ตำบลหินลาด อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์, โครงการโบราณคดีประเทศไทย, 2531.

สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า, ศิลปะขอมเล่ม 1 กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2513.

ศิลปากร, กรม. เซรามิคส์ในประเทศไทยชุดที่ 4 : เตาเผาบ้านกรวดบุรีรัมย์. กรุงเทพฯ, โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด, 2532.

Grolier Bernard P. “Interoduction to the Ceramics wares of Angkon” Khmerceramics 9th – 14th Century. Timrs Printers’ Sdn. Bhd; Singapro, 1981.

Roxanna Brown, Vance Childress and Michael Gluchman, “Khmer Kiln Site-Surin”, Journal of the Siam Society L XII/2, July 1974.

W.A Graham, “Pottery in Siam” Journal of the Siam Soecity, XVT/1, October 1982.

Sathaporn Kwanyuen, “The Excavation of Baranae Kiln Site, Thailand” Country Report of Thailand of SPAFA Teehnical workshop on Ceramies (T-w4) 1985.

Downloads

Published

2021-08-30