รูปแบบธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงกีฬามวยไทย: เมืองกีฬาจังหวัดชลบุรี

Muay Thai Sports Tourism Business Model: Sports City, Chonburi Province

Authors

  • นาคิน คำศรี
  • รังสฤษฏ์ จำเริญ
  • ประวิทย์ ทองไชย

Keywords:

รูปแบบธุรกิจ, การสร้างมูลค่าเพิ่ม, การท่องเชิงกีฬา, มวยไทย, เมืองกีฬา

Abstract

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงกีฬามวยไทยต้นแบบที่มีศักยภาพในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงกีฬามวยไทย และเพื่อจัดทำแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มและรูปแบบธุรกิจที่เหมาะสมสำหรับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม การท่องเที่ยวเชิงกีฬามวยไทย การศึกษานี้เป็นวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กลุ่มผู้ให้ผู้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) จำนวน 17 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)  ผลการวิจัยพบว่า  1. กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงมวยไทยต้นแบบ ได้แก่ กิจกรรมเรียนรู้ศิลปะมวยไทย โดยสถาบันสอนมวยไทย  2. ได้รับรูปแบบแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่ม 4 แนวทางหลัก ได้แก่ การตลาดที่ตอบสนองคุณค่าจากการใช้งานจริง (Functional Value) การตลาดที่ตอบสนองคุณค่าทางอารมณ์ (Emotional Value) การตลาดที่ตอบสนองคุณค่าทางสังคม (Social Value) การตลาดที่ตอบสนองคุณค่าทางประสบการณ์ (Epistemic Value) และองค์ประกอบรูปแบบธุรกิจที่เหมาะสม ได้แก่ การสร้างมูลค่า การจัดการมาตรฐานของสถานประกอบการ หลักสูตรการสอน การมีส่วนร่วมของชุมชน และการรับผิดชอบต่อสังคม  The purposes of this research were to study Muay Thai (Thai boxing) sport tourism activities prototype that to create value-added for entrepreneurs in the Muay Thai sports tourism industry. Also, it aimed to create guidelines for generating value-added and a proper business model for entrepreneurs in the Muay Thai sports tourism industry. This qualitative research used in-depth interview to gather data from 17 key informants. Content analysis was applied for data analysis.  The research findings were as follows:  1. Muay Thai sport tourism activity prototype was the art of Muay Thai learning activities by the Thai boxing training institute.  2. Value-added model which consists of four main methods, namely functional value, emotional value, social value, and epistemic value with appropriate business elements such as value added, management, establishment standard, learning program, community participation, and social responsibility.

References

กัมปนาท ชูสุวรรณ. (2559). วิเคราะห์มวยไทย คลุกวงในกูรู. สืบค้นจาก https://th.facebook.com/ muaysiamnews

ธัญลักษณ์ หงษ์โต และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2564). อนาคตการบริหารค่ายมวยไทย. วารสารสุขศึกษา พลศึกษาและสันทนาการ, 47(2), 20-37.

นาคิน คำศรี, นภพร ทัศนัยนา, ประวิทย์ ทองไชย และ ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล. (2564). มาตรฐานและรูปแบบการบริหารจัดการสถาบันสอนมวยไท. วารสารสุขศึกษา พลศึกษา และสันทนาการ, 47(2). 361-375

ไพโรจน์ สว่างไพร, นภพร ทัศนัยนา, ประวิทย์ ทองไชย และ สันติพงษ์ ปลั่งสุวรรณ. (2565). การจัดการกีฬาแบบมีส่วนร่วมในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยใช้หลักประชารัฐ. วารสารสุขศึกษา พลศึกษาและสันทนาการ, 48(1), 185-195.

สุพานี สฤษฎ์วานิช. (2552). พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่: แนวคิดและทฤษฎี (พิมพ์ครั้งที่7). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Chelladurai, P. (1994). Sport Management. Defining the Field. European Journal for Sport Management, (1), 7-21.

Faherty, V. (2010). Wordcraft: Applied Qualitative Data Analysis (QDA): Tools for Public and Voluntary Social Services. Thousand Oaks, CA: Sage Publications.

Macmillan, T. T. (1971, May 3-5). The Delphi Technique. Paper Presented at the annual meeting of the California Junior Colleges Associations Committee on Research and Development, Monterey, California.

Millet. J. D. (1954). Management in the Public Service. New York: McGraw Hill Book Company.

Stemler, S. (2001). An overview of content analysis. Practical Assessment, Research & Evaluation, 7(17). Available online: http://PAREonline.net/getvn.asp?v=7&n=17.

Additional Files

Published

2022-10-20