ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดในบทบาทและการคงอยู่ของพนักงานธุรกิจคอนโดมิเนียมแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร

RELATION BETWEEN THE ROLE STRESS AND THE RETENTION OF THE EMPLOYEES OF A CONDOMINIUM DEVELOPER IN A DISTRICT OF BANGKOK

Authors

  • ณิชกานต์ ทองทวี
  • ธัญนันท์ บุญอยู่

Keywords:

ความเครียด, พนักงานบริษัท, คอนโดมิเนียม, ความสัมพันธ์

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับของความเครียดในบทบาทและการคงอยู่ของพนักงาน (2) เปรียบเทียบการคงอยู่ของพนักงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างเครียดในบทบาทและการคงอยู่ของพนักงานธุรกิจคอนโดมิเนียมแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานธุรกิจคอนโดมิเนียมแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 108 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test , F-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความ เครียดในบทบาทของพนักงานมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท และการทำงานมากเกินบทบาทมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนระดับการคงอยู่ของพนักงานมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) เปรียบเทียบการคงอยู่ของพนักงานจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า พนักงานที่มีปัจจัยด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และระยะเวลาปฏิบัติงานต่างกัน มีระดับการคงอยู่ของพนักงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ความเครียดในบทบาทโดยรวมมีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับการคงอยู่ของพนักงานโดยรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  This research aimed to study (1) the level of the role stress and the retention of the employees; (2) the comparisons of the retention of the employees by personal factors; and (3) a relation between the role stress and the retention of the employees of a condominium developer in a district of Bangkok. A sample group used in this research is consisted of 108 employees of a condominium developer in a district of Bangkok. The research instrument is a questionnaire, and the statistics used for data analysis include percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test and analysis of variance. The research revealed the following outcomes: (1) The overall average of the role stress of the employees was at a moderate level. As a result of considering each aspect, it was found that the overall averages of role conflict, role ambiguity, work beyond the capacity of the role of the employees were at a moderate level. Meanwhile, the overall average of the retention of the employees was at a moderate level; (2) As a result of comparing the retention of the employees by personal factors, it was found that the level of employee retention differed according to the gender, age, education level, average monthly income and the length of service (the level of statistical significance was 0.05).; and (3) Overall role stress was negatively associated with overall employee retention (the level of statistical significance was 0.05).

References

ขจรศักดิ์ อินทเนตร และปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับความเครียดของพลทหารกองประจำการใหม่ หน่วยทหารแห่งหนึ่งในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารพยาบาลทหารบก, 21(2), 231-240.

จิรันธนิน บุญนิธิสิโรจน์. (2559). ความขัดแย้งในบทบาทและการสนับสนุนทางสังคมที่พยากรณความเครียดในงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

จิราพร กำจัดทุกข์. (2552). ความพึงพอใจหลังการตัดสินใจซื้อคอนโดมิเนียมในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ฐาปนี วังกานนท์. (2556). ปัจจัยด้านการทำงานที่มีอิทธิพลต่อความเครียดของพนักงาน: กรณีศึกษาบริษัท แอมพาส อินดัสตรี จำกัด. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วราลักษณ์ กิจประชุม และธัญนันท์ บุญอยู่. (2563). อิทธิพลเชิงโครงสร้างของความผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจ และการมีส่วนร่วมในงานที่มีต่อการคงอยู่ของพนักงานบริษัท เทคซ์ปอร์ตไทย จำกัด. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 26(3), 11-23.

ศิริพงษ์ สุนทรวัฒนกิจ. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการรักษาพนักงานให้คงอยู่ในองค์การ ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานในธุรกิจ wedding studio. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ธนาคารอาคารสงเคราะห์. (2561). ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ธนาคารอาคารสงเคราะห์ปี 2561. กรุงเทพมหานคร: ธนาคารอาคารสงเคราะห์.

ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์. (2552). ประชากรและครัวเรือนของกรุงเทพมหานคร ณ สิ้นปี 2551. ค้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2552, จาก http://www.reic.or.th/index/Relevant_Population_Household. Asp.

อารีวรรณ ลีทัพไทย. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันด้านการคงอยู่ของพนักงานบริษัท ภัทรประกันภัย จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อิษฎา เจตินัย, รังสิมา หอมเศรษฐี และมณฑิรา จารุเพ็ง. (2563). ปัจจัยทางจิตวิทยาที่ส่งผลต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของพนักงานการเคหะแห่งชาติ. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 13(1), 12-25.

Agbator, G. I., & Olori, W. O. (2020). Employee demographic factors and intention to stay in maritime firms in river state. International Journal of Social Sciences and Management Research, 6(3), 9-21.

Altahtooh, U. (2018). The effect of job satisfaction and workload on IT project employee turnover intention in the Madinah government of Saudi Arabia. International Journal of Business and Social Science, 9(8), 107-115.

Best, J. W. (1981). Research in education. (4th ed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice-Hall.

Chantaplaboon, N. (2018). Employee retention: Causal analysis for non-profit organizations in Thailand. Journal of Public and Private Management, 25(2), 121-142.

Emiroglu, B. D., Akova, O., & Tanriverdi, H. (2015). The relationship between turnover intention and demographic factors in hotel businesses: A study at five star hotels in Istanbul. Social and Behavioral Sciences, 207, 385-397.

Gamage, P. N., & Herath, H. M. (2013). Job related factors and intention to stay of it professionals in Sri Lanka. International Journal of Social Science & Interdisciplinary Research, 2(7), 136-145.

Han, S. S., Han, J. W., An, Y. S., & Lim, S. H. (2015). Effects of role stress on nurses’ turnover intentions: The mediating effects of organizational commitment and burnout. Japan Journal of Nursing Science, 12(4), 287-296.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and psychological measurement, 30(3), 607-610.

Kurdi, B. A., Alshurideh, M., & Afaishat, T. A. (2020). Employee retention and organizational performance: Evidence from banking industry. Management Science Letters, 10, 3981-3990.

Likert, R. A. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of Psychology, 140, 5-53.

Lu, Y., Hu, X. M., Huang, X. L., Zhuang, X. D., Guo, P., Feng, L. F., Hu, W., Chen, L., Zou, H., & Hao, Y. T. (2017). The relationship between job satisfaction, work stress, work–family conflict, and turnover intention among physicians in Guangdong, China: A cross-sectional study. BMJ Open, 7, 1-12.

Salahudin, S. N. B., Alwi, M. N. R., Baharuddin, S. S. B., Santhasaran, Y., & Balasubramaniam, V. (2016). The relationship between occupational stress, employee engagement and turnover intention. International Conference on Business and Economics, 458-464.

Shahid, A. (2018). Employee intention to stay: An environment based on trust and motivation. Journal of Management Research, 10(4), 58-71.

Suhermin, S. (2015). Effect of work stress, job satisfaction, empowerment of psychology of intention to stay. International Journal of Management Sciences, 5(3), 206-212.

Sule, O. E., & Omoankhalen, J. A. (2019). Employee demographic factors and academic staff labor turnover in private higher institutions in Ogun state. Cross Current International Journal of Economics, Management and Media Studyies, 1(1), 30-38.

Wen, B., Zhou, X., Hu, Y., & Zhang, X. (2020). Role stress and turnover intention of front-line hotel employees: The roles of burnout and service climate. Frontiers in Psychology, 11, 1-13.

Zahara, S. S., Khan, M. I., Imram, M. I., Aman, Q., & Ali, R. (2018). The relationship between job stress and turnover intentions in the pesticide sector of Pakistan: An employee behavior perspective. Management Issues in Healthcare System, 4, 1-12.

Downloads

Published

2022-11-25