สวัสดิการภาคเกษตรและระบอบการปกครอง : การเปรียบเทียบกรณีไทยและเวียดนาม

Authors

  • ธัชชนก สัตยวินิจ
  • วีระ หวังสัจจะโชค

Abstract

บทความวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาการจัดสวัสดิการภาคเกษตรจากภาครัฐสู่ชาวนาของสองประเทศส่งออกข้าวสำคัญ คือ ไทยและเวียดนาม เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดสวัสดิการกับระบอบการปกครอง โดยใช้วิธีการวิจัยสำรวจเอกสาร สัมภาษณ์เชิงลึก และการจัดเสวนากลุ่มในสองประเทศประกอบด้วยอำเภอสนามชัยเขตและอำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา สำหรับประเทศไทยเปรียบเทียบ กับจังหวัดนามดิ่ญห์ (Nam Định) และ ฮ่านาม (Hà Nam) สำหรับประเทศประเทศเวียดนาม ผลการศึกษาค้นพบว่าแม้ประเทศไทยจะมีระบอบการปกครองแบบผสมระหว่างประชาธิปไตยและอำนาจนิยม แตกต่างจากประเทศเวียดนามที่มีการปกครองแบบสังคมนิยม แต่ทั้งสองประเทศกลับมีสวัสดิการภาคเกษตรที่จัดให้กับชาวนาแบบเสรีนิยมเหมือนกันในสามด้านประกอบด้วยสวัสดิการภาคภาคเกษตรจะเน้นในเรื่องของการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน สวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่อชาวนายากจนให้เท่าที่เพียงพอจะสามารถแข่งขันในตลาดได้ และรูปแบบการคุ้มครองที่โยนภาระอยู่กับปัจเจกบุคคล มากกว่าจะเป็นการจัดสวัสดิการโดยรัฐเพื่อยกระดับมาตรฐานสังคมให้สูงขึ้น ทำให้ชาวนาของทั้งสองประเทศขาดความมั่นคงทางสังคมและสิทธิของพลเมือง             This research paper studied an agricultural welfare system allocated by public sectors to peasants of two major rice-exporting countries, Thailand and Vietnam. To demonstrate relationship between welfare and government regime, documentary research and focus groups were employed to collect information from both countries, including Sanam Chai Khet and Bang Nam Prieo districts, Chachoengsao, Thailand, and Nam Định and Hà Nam, Vietnam. The finding indicated that political regimes of Thailand and Vietnam are hybrid regime and Socialist state respectively. Both regimes, however, had liberal welfare system concentrating on three issues: competitiveness, social work policy to help peasants who were under privileged for only survival in the market system, and volunteering insurances based on individuals rather than state intervention to improve higher standard of social wellbeing. Consequently, Thai and Vietnamese peasants have become underclass who are defined by insecurity and losing citizenship rights.

References

กรมสรรพากร. (2560). ประมวลรัษฎากร. วันที่ค้นข้อมูล 9 พฤษภาคม 2561, http://www.rd.go.th/publish/5206.0.html#mata81_1

กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2538). นโยบายสังคมและสวัสดิการสังคม, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ใจ อึ้งภากรณ์ และเก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2549). รัฐสวัสดิการ: ทางเลือกที่ดีกว่าประชานิยมของไทยรักไทย. กรุงเทพ: พรรคแนวร่วมภาคประชาชน.

เจษฎา โชติกิจภิวาทย์ และวิทยากร บุญเรือง (2556). (บก.) แรงงานบนเส้นทางรัฐสวัสดิการ, ลำพูน: โครงการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหาผู้ด้อยโอกาสทางสังคม.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2549). ลัทธิเศรษฐกิจการเมือง (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธัชชนก สัตยวินิจ. (2560). อัตลักษณ์เเละการปรับตัวของนิสิตเวียดนามในมหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี: คณะรัฐศาสตร์เเละนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ประภาส ปิ่นตบแต่ง, สุภา ใยเมือง และบัญชน แก้วส่อง (2546). การพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส: กลุ่มเกษตรกร. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิสิทธิ์ พัวพันธ์ และคณะ (2555). การวิเคราะห์ผลกระทบนโยบายสวัสดิการสังคมต่อกรอบเศรษฐกิจและสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ภีม ภคเมธาวี และคณะ (2552) โครงการวิจัยนำร่องขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมเชิงพื้นที่, กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ระพีพรรณ คำหอม (2557). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิมุต วานิชเจริญธรรม (2553). ผลกระทบต่อสวัสดิการของการดำเนินนโยบายทางการเงิน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

วีระ หวังสัจจะโชค. (2556). เสรีนิยมกับการลดบทบาทของรัฐด้านนโยบายข้าว: ศึกษากรณีการเปลี่ยนแปลงนโยบายพรีเมี่ยมข้าวของไทยและนโยบายนารวมของเวียดนาม. วารสารสังคมศาสตร์, 43(2), 223-241.

ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี. (2555). เศรษฐกิจการเมืองว่าด้วยสวัสดิการสำหรับแรงงานข้ามชาติ: กรณีศึกษาแรงงานพม่าในจังหวัดสมุทรปราการ. ดุษฎีนิพนธ์รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชารัฐศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภา ใยเมือง, วีระ หวังสัจจะโชค และมณีรัตน์ มิตรปราสาท. (2559). โครงการทบทวนความรู้และพัฒนาโจทย์เพื่อการปรับตัวของชาวนาไทยภายใต้การเปลี่ยนแปลงการผลิตและการตลาดข้าว. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

อุชุก ด้วงบุตรศรี (2556). บทวิเคราะห์โครงการช่วยเหลือชาวนาของภาครัฐในด้านการขายผลผลิตเมื่อสิ้นสุดฤดูกาลเก็บเกี่ยว. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

Asian Development Bank (ADB). (2013). The Social Protection Index: Assessing Results for Asia and the Pacific, Metro Manila, Asian Development Bank.

Baldock, J., Manning, N., & Vickerstaff, S. (2003). “Social Policy, Social Welfare, and the Welfare State”. In John Baldock, Nick Manning, and Sarah Vickerstaff (eds.) Social Policy, (2nd ed.). Oxford: Oxford University Press.

Cahill, M. (2003). “The Environmental and Green Social Policy”. In John Baldock, Nick Manning, and Sarah Vickerstaff (eds.) Social Policy (2nd ed.). Oxford: Oxford University Press.

Esping-Andersen, G. (1990). The Three Worlds of Welfare Capitalism. Cambridge: Polity Press.

Gavagnin, C., Zolin, M. B., & Pastore, A. (2016). Vietnam's Rice Price at the Intersection of Globalisation and Climate Variability. The Copenhagen Journal of Asian Studies, 34(2), 28-53.

Giddens, A. (2000). The Third Way: The Renewal of Social Democracy. Cambridge: Polity Press.

Handayani, S. W. (2014). Measuring Social Protection Expenditures in Southeast Asia: Estimates Using the Social Protection Index. Metro Manila, Philippines: Asian Development Bank.

Hansen, K. (2013). Land Law, Land Rights, and Land Reform in Vietnam: A Deeper Look into “Land Grabbing” for Public and Private Development. Independent Study Project (ISP) Collection. Paper 1722. Retrieved December 14, 2017, From http:// digitalcollections.sit.edu/isp_collection/1722

Lynch, J. (2006). Age in the Welfare State: The Origin of Social Spending on Pensioners, Workers, and Children. Cambridge: Cambridge University Press.

Marsh S. P., MacAulay T. G., & Hung P. V. (eds.). (2007). Agricultural development and land policy in Vietnam: policy briefs. Canberra: The Australian Centre for International Agricultural Research.

Nghiem, N. V. (2011). Agricultural Cooperatives in Vietnam: Innovations and Opportunities. Retrieved December 14, 2017, from http://www.fftc.agnet.org/library.php?func=view&id=20110726095506&type_id=4.

Nguyen Quang Tuyen. (2010). Land Law Reforms in Vietnam- Past & Present. ASLI Working Paper Series, Asian Law Institute, National University of Singapore.

Pickvance, C. (2003). “The Impact of Social Policy” In John Baldock, Nick Manning, and Sarah Vickerstaff (eds.). Social Policy (2nd ed.). Oxford: Oxford University Press.

Piketty, T. (2014). Capital in the Twenty-First Century, Arthur Goldhammer (trans.), Cambridge: The Belknap Press of Harvard University Press.

Sheingate, A. D. (2001). The Rise of the Agricultural Welfare State: Institution and Interest Group Power in the United States, France, and Japan. Princeton and Oxford: Princeton University Press.

Standing, G. (2011). The Precariat: The New Dangerous Class. London: Bloomsbury Academic.

Thang, T. C. & Linh, D. T. B. (2014). Agricultural Production Policies in Vietnam. Retrieved December 14, 2017, from http://ap.fftc.agnet.org/ap_db.php?id=275%26print=1

The National Assembly. (2013). Land Law No. 45/2013/QH13. Retrieved June 11, 2018, from http://vietnamlawenglish. blogspot.com/2013/11/vietnam-land-law-2013-law-no-452013qh13.html

Tu, N. M. (2011). “Cooperative Development in Vietnam: Success and Challenges”. In UN Expert Group Meeting on “Cooperatives in Social Development” Ulaanbaatar, Mongolia 3-6 May 2011.

Vietnam Bank for Agriculture and Rural Development. (2018). General information of Vietnam Bank for Agriculture and Rural Development. Retrieved June 11, 2018, from http://www.agribank.com.vn/102/782/about-us/general-information.aspx

Yin, R. K. (2009). Case Study Research: Design and Methods (4th ed.). London: SAGE.

Downloads

Published

2022-10-31