ผลกระทบของโลกาภิวัตน์และบทบาทของรัฐที่มีต่อการพัฒนาทุนนิยมประมงไทยในภาคตะวันออก

Impacts of Globalization and the Role of State Affecting to Thai Fishery Capitalist Development in the Eastern Region

Authors

  • อัศวิน แก้วพิทักษ์
  • ชัยณรงค์ เครือนวน
  • ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์

Keywords:

ผลกระทบ, โลกาภิวัตน์, บทบาทของรัฐ, การพัฒนาทุนนิยมประมง

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลกระทบของโลกาภิวัตน์และบทบาทของรัฐที่มีต่อการพัฒนาทุนนิยมประมงไทย รวมถึงข้อเสนอแนะในการสร้างความยั่งยืนของประมงไทยในภาคตะวันออก โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแนวทางเศรษฐศาสตร์การเมืองของมาร์กซิสแนวสหวิทยาการ ซึ่งใช้การวิจัยเชิงกรณีศึกษาในชุมชนประมง 3 พื้นที่ในภาคตะวันออก จากผลการวิจัยพบว่า ผลกระทบของการพัฒนาทุนนิยมประมงไทยในภาคตะวันออกทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง และวัฒนธรรม เกิดจากกระแสโลกาภิวัตน์ เช่น สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปมีอิทธิพลต่อการค้าสัตว์น้ำและกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศครอบงำรัฐไทย จึงมีการปรับบทบาทของรัฐไทยจากรัฐพัฒนาแบบจำกัดมาสู่รัฐที่มีบทบาทจำกัด นำมาสู่การออกกฎหมายประมงที่เข้มงวด และมีการควบคุมแบบจริงจังเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของสหภาพยุโรป ซึ่งข้อเสนอแนะในการสร้างความยั่งยืนในภาพรวมภาคตะวันออก ได้แก่ การมีส่วนร่วมของชาวประมงในการแก้ไขกฎหมายที่เป็นธรรม การเยียวยาชาวประมงที่ทำผิดกฎหมายถูกดำเนินคดีโดยขาดเจตนา และการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงโดยชุมชน เป็นต้น  The purposes of this research were to investigate impacts of globalization and roles of the state affecting development of Thai fisheries capitalism and to gather suggestions for sustainability of Thai fisheries. This qualitative research was conducted through 3 local case studies in the eastern region based on the Marxist political economic research methodology and the interdisciplinary research studies. The results revealed that current trends in the globalization from the United States of America and European Union influence and  dominance towards Thailand’s fishing industry, foreign economic activities, and Thai government’s management have huge  impacts on the development of Thai fisheries  capitalism in aspects of economy, society, political affairs, administration, and culture. This  results in changing the roles of the state from being limited developmental state to the government with restricted roles leading to legislation of strict laws and policies in fisheries as well as intensive inspection and control in order to tally with European Union’s policies. The overall suggestions for the sustainability of Thai fisheries in the eastern region were participation of fishermen in the law amendment, remedies for the fishermen who  unintentionally break the law, and cooperation of local people in communities to manage fishery resources.

References

ชาวประมงไม่ประสงค์ออกนาม. (2561, 13 เมษายน). กลุ่มชาวประมงแหลมสิงห์. สัมภาษณ์.

ไต๋เล็ก นามสมมติ. (2562, 16 กรกฎาคม). ไต๋เรือบางกะไชย. สัมภาษณ์.

ธวัชชัย หลวงอินทร์. (2561, 3 สิงหาคม). หัวหน้าศูนย์ควบคุมการแจ้งเข้า-ออก เรือประมงจันทบุรี. สัมภาษณ์.

นาย ก .นามสมมติ.(2562, 16 มิถุนายน). ผู้ประกอบการประมงในแสมสาร. สัมภาษณ์.

นาย ก .นามสมมติ. (2562, 20 สิงหาคม). ชาวประมงพื้นบ้านบางชัน. สัมภาษณ์.

บรรเจิด จันทร์เทศ. (2561, 3 มิถุนายน). ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1. สัมภาษณ์.

ประกาศจังหวัดจันทบุรี. (2558). ให้รื้อถอนเครื่องมือทำประมงที่ผิดกฎหมายในเขตจังหวัดจันทบุรี. จังหวัดจันทบุรี.

ประชาไท. (2557). สถานการณ์การค้ามนุษย์. วันที่ค้นข้อมูล 10 สิงหาคม 2557, เข้าถึงได้จาก http://www.prachatai.com/node/54150

ประชาไท. (2559). สถานการณ์ EU. วันที่ค้นข้อมูล 11 กรกฎาคม 2559, เข้าถึงได้จาก http://www.prachatai.com/economy?page=5

ประสงค์ เอี่ยมวิจารณ์.(2562, 26 มิถุนายน). ผู้อำนวยการสำนักงานเจ้าท่าภูมิภาคสาขาจันทบุรี. สัมภาษณ์.

ประเสริฐ เนินริมหนอง. (2557, 20 กันยายน). นายกสมาคมประมงอำเภอแหลมสิงห์ สัมภาษณ์.

พิมพ์ประไพ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา และคณะ. (2561). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการแก้ไขการทำประมงผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม: กรณีศึกษาพื้นที่ภูมินิเวศน์อ่าวตราด จังหวัดตราด. ชลบุรี: คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ไพริน โอฬารไพบูลย์. (2561, 12 กันยายน).ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 2 บ้านปากน้ำเวฬุหรือบ้านโรงไม้. สัมภาษณ์.

ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม. (2561, 13 เมษายน). กลุ่มชาวประมงแหลมสิงห์. สัมภาษณ์.

ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม. (2561, 3 มิถุนายน). กลุ่มชาวประมงตำบลแสมสาร. สัมภาษณ์.

ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม. (2561, 24 ธันวาคม). เจ้าหน้าที่ตรวจเรือส่วนหน้าแสมสาร. สัมภาษณ์.

ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม. (2561, 24 ธันวาคม). ประมงอำเภอสัตหีบ. สัมภาษณ์.

ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม. (2562, 20สิงหาคม). กลุ่มชาวประมงบางชัน. สัมภาษณ์.

ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม. (2562, 6 กันยายน). อดีตเจ้าหน้าที่ทหารเรือ. สัมภาษณ์.

ผู้ไม่ประสงค์ออกนาม. (2562, 10 ธันวาคม). เจ้าหน้าที่ประมงจันทบุรี. สัมภาษณ์.

มุ้ง บางแก้ว. (2561, 24 ธันวาคม). ชาวประมงตำบลแสมสาร. สัมภาษณ์.

วิรัช ลิ้นทอง.(2557, 10 ตุลาคม). ผู้ประกอบการเรือประมง. สัมภาษณ์.

ศุภกร สุธาวุฒิ. (2554). บทบาทในการประกอบธุรกิจของรัฐไทยในกระแสโลกาภิวัตน์หลังสนธิสัญญาเบาว์ริง. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาไทยศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา.

สนั่น แก้วขาว. (2561, 29 สิงหาคม). นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบางชัน. สัมภาษณ์.

สเน่ห์ พิทักษ์กรณ์. (2561, 2 มิถุนายน). อดีตสมาชิกสภาจังหวัดชลบุรี. สัมภาษณ์.

สุริยน กองจินดา. (2561, 13 กันยายน). นักการภารโรง โรงเรียนวัดบางชัน หมู่ 2 บ้านปากน้ำเวฬุหรือบ้านโรงไม้. สัมภาษณ์.

อดุลย์ รักษ์สกุลสงสัย. (2561, 24 ธันวาคม). ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลแสมสาร. สัมภาษณ์.อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2542). การอธิบายกับการวิเคราะห์ทางการเมือง : ข้อพิจารณาเบื้องต้นในเชิงปรัชญาสังคมศาสตร์.กรุงเทพฯ: โครงการผลิตตำราและเอกสารการสอน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Cardoso, F. H., & Enzo, F. (1979). Dependency and Development in Latin America. Berkeley: University of California Press.

Heywood, A. (2007). Politics (3rd ed.). New York: Palgrave Macmilar.

Serge, M. G. (2016). Fisheries; Form Clockworks to Social-Ecological Systems. In The MSEAS 2016 conference. 30 May -3 June 2016 at Brest France.

Sklair, L. (1999). Competing conceptions of globalization. Journal of World System Research, 2, 148-160.

Thaipublica. (2559). คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ วันที่ค้นข้อมูล 25 ตุลาคม 2559, เข้าถึงได้จาก https://thaipublica.org/2017/01/iuu2560-1/

Downloads

Published

2022-10-31