ทองสีม่วงกับมุมมองในอนาคต

The Future Aspects of Purple Gold

Authors

  • ปราโมทย์ ธีรทีปวิวิฒน์
  • ขจีพร วงศ์ปรีดี

Keywords:

ทองคำ, ทองสีม่วง, อินเทอร์เมทาลิก

Abstract

          ทองสีม่วงเป็นวัสดุแบบสารประกอบประเภทอินเทอร์เมทาลิก (Intermetallic compound) ซึ่งมีความแข็งสูงแต่มีข้อกำจัดเรื่องความเหนียว ทำให้เกิดปัญหาในขั้นตอนการขึ้นรูปซึ่งอาจทำให้เกิดการแตกหักได้ง่าย ในบทความนี้ได้เชื่อมโยงหลักการความเป็นไปได้ในการพัฒนาสารประกอบอินเทอร์เมทาลิกเน้นทองสีม่วง และเทคนิคการพัฒนาทองสีม่วง ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1987 จนถึงปัจจุบัน ในรูปแบบเพื่อการทำเครื่องประดับรวมไปถึงการประดิษฐ์วัสดุเชื้อเพลิง ทั้งนี้สำหรับการตอบสนองความสวยงามกับความต้องการของผู้บริโภคและความสามารถในการเก็บไฟฟ้าตามลำดับ รวมไปถึงการเชื่องโยงกับวิวัฒนาการการประดิษฐ์ในอนาคต

References

ขจีพร วงศ์ปรีดี และสุพิชฌา สุพรรณสมบูรณ์. (2548). นวัตกรรมการผลิตโลหะมีค่า ทางด้านอัญมณีและเครื่องประดับ. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว. 23(1), 121-126.

Cortie, C. W. (2006). Blue, black and purple! the special colours of gold. In Oral presented at the conference on the International Jewellery Symposium. USA.

Cortie, M. B., Maaroof, A., & Smith, G. B. (2005). Electrochemical Capacitance of Mesoporous Gold. Gold Bulletin, 38, 14-22.

Cortie, M. B., Maaroof, A., & Smith, G. B. & Ngoepe, P. (2005). Nanoscale coating of AuAlx and PtAlx and their mesoporous elemental derivatives. Current Applied Physics, 6, 440-443.

Cretu, C., & Van Der Lingen, E. (2000). Coloured Gold Alloys. Gold Technology, 30, 31-40.

Gainsbury, P. (1984). Colour in Gold alloys. Aurum, 20, 40-41.

George, H. (1997). Wire Bonding in Microelectronics Materials, Processes, Reliability and Yield. (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.

Loh, P.C. (2005). Jewelry alloy compositions. US6929776.

Massalski, T., Murray, J., Lawrence, B., & Hugh, B. (1986). Binary Alloy Phase Diagram. Ohio: American Society for Metals.

Mitterer, C., Lenhart, H., Mayrhofer, P.H., & Kathrein, M. (2004). Sputter-deposited Al-Au coatings. Intermetallics, 12(5), 579-587.

Downloads

Published

2021-07-14