แนวทางพัฒนาบทบาทการศึกษาต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลสู่ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม

Authors

  • กิตติพิชญ์ วรโชติสุพัฒภาคิน
  • พักตร์วิภา โพธิ์ศรี
  • อุทิศ บำรุงชีพ

Keywords:

แนวทางจัดการศึกษา, การพัฒนา, พลเมืองดิจิทัล, การคิดเชิงนวัตกรรม

Abstract

          ผลการวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่องบทบาทการศึกษาต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลสู่ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางพัฒนาบทบาทการศึกษาต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลสู่ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม โดยมีรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจำนวน 15 คน ผลการวิจัยพบว่าแนวทางพัฒนาบทบาทการศึกษาต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองดิจิทัลสู่ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม ประกอบด้วย 7 มิติ หรือ KITIPIT Dimensions ได้แก่ 1. มิติทางความรู้ (K : Knowledge ) 2. มิติการเสาะแสวงหาความรู้ (I : Inquiry) 3. มิติทางเทคโนโลยีและการเรียนรู้ (T : Technology & Learning Resources) 4. มิติทางทักษะ (I : Intellectual) 5. มิติการมีส่วนร่วม (P : Participation) 6. มิติการคิดเชิงนวัตรรม (I : Innovative Thinking) และ 7. มิติการบันทึก การคิดทบทวน และการสะท้อนความคิด (T : Thought Diary)           The results section of the role of education to enhance digital citizenship towards innovative thinking skills research paper. The objectives of this study were to propose the role of education development guidelines to enhance digital citizenship towards innovative thinking skills. The research utilized a qualitative methodology through in-depth interviews from 15 key informants. Findings were as follows: The role of education development guidelines to enhance digital citizenship towards innovative thinking skill consisted of 7 dimensions (KITIPIT dimensions): 1) K: Knowledge, 2) I: Inquiry, 3) T: Technology & Learning Resources, 4) I: Intellectual, 5) P: Participation, 6) I: Innovative Thinking, 7) T: Thought Diary.

Downloads